clip สมดุลเคมี (มีคะแนนมาแจกอีกแล้วครับบบบบบบบบ!)

Posted: มิถุนายน 20, 2010 in Uncategorized

จากคลิปที่ 1 สมดุลเคมี เกิดขึ้นได้อย่างไร?

จากคลิปที่ 2 เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทใด เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น

ตอบคำถามที่ช่องความคิดเห็น และแจ้งคลิปที่ตอบ พร้อมชื่อชั้น ให้เรียบร้อยด้วยนะครับ

ความเห็น
  1. นางสาวณัฐวิภา สารทอง ม.5/4 เลขที่14 พูดว่า:

    จากคลิปที่2 เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภท ปฏิกิริยาผันกลับได้ เพราะสารตั้งต้นทำปฏิกิริยาเกิดเป็นผลิตภัณฑ์จะเรียกปฏิกิริยานั้นว่า ปฏิกิริยาไปข้างหน้า และในทางตรงกันข้ามเมื่อผลิตภัณฑ์ทำปฏิกิริยากันแล้วกลับไปเป็นสารตั้งต้นจะเรียกปฏิกิริยานั้นว่า ปฏิกิริยาย้อนกลับ
    ปฏิกิริยาที่มีทั้ง ปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับจึงเรียกว่าปฏิกิริยาผันกลับได้

  2. นางสาวคชาภรณ์ ชินโนสอน ม.5/4 เลขที่ 37 พูดว่า:

    จากคลิปที่ 1 เกิดขึ้นได้จากการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้สารบางชนิดเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วอาจเปลี่ยนกับเป็นสารเดิมได้

  3. นิรนาม พูดว่า:

    จากคลิปที่ 2 เป็นการเปลื่ยนเเปลงประเภท การเปลื่ยนเเปลงที่ผันกลับได้ เพราะเป็นการเปลื่นเเปลงที่เเกดขึ้นเเล้วจะสามารถเข้าสู่สภาพเดิมได้หรือการเปลื่ยนเเปลงซึ่งมีทั้งการเปลื่ยนเเปลงไปข้างหน้าเเละการเปลื่ยนเเปลงย้อนกลับเกิดควบคู่กันไป ช่น น้ำ เมื่อได้รับความร้อนจะกลายเป็นไอน้ำ เเละไอน้ำจะกลั่นตัวเป็นหยดน้ำเมื่ออุณหภูมิลดลง

    การที่จะเรียกการเปลืยนเเปลงใดเป็นการเปลื่ยนเเปลงไปข้างหน้า หรือการเปลื่ยนเเปลงย้อนกลับขึ้นอยู่กับว่าเราเริ่มจากสิ่งใดก็ได้ถือว่าเป็นการเปลื่ยนเเปลงไปข้างหน้า

  4. นางสาวเอี่ยมโฉม ธงยศ ม.5/2 เลขที่ 12 พูดว่า:

    เมื่อสารที่อยู่ในบีกเกอร์เป็นสีส้มพร้อมทั้งให้ความร้อน เมื่อเติมสาร NaOH ในปริมาณที่พอเหมาะ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสีเหลืองเข้ม แต่พอเติมสาร HCl ในปริมาณที่เหมาะสม ทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสีส้มอีกครั้งแต่พอเติมสาร NaOH อีกครั้ง ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงกลายเป็นสีเหลืองอีกครั้ง สีของสารจะมีสีเหมือนเดิมคือเหลืองก็จะเหลืองตลอด ส้มก็จะส้มตลอด เมื่อเติมสารที่ทำปฏิกิริยาสีของสารก้อไม่จางลง
    เป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ คือมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เกิดสารผลิตภัณฑ์หรือการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าและการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับหรือการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เกิดสารตั้งต้นเมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมีค่าเท่ากัน แสดงว่าระบบเข้าสู้ สมดุลเคมี

  5. นางสาวเอี่ยมโฉม ธงยศ ม.5/2 เลขที่ 12 พูดว่า:

    ตอบการทดลองที่สองคร๊า

  6. นางสาว กชณัช ผลโยน ม.5/4 เลขที่ 31 พูดว่า:

    เป็นการเปลี่ยนแปลงของปฏิกริยาผันกลับที่มีทั้งปฏิกิริยาไปข้างหน้าปฏิกิริยาย้อนกลับ
    เพราะจากสารในบีกเกอร์ที่มีสีส้มที่ต้มให้ความร้อนอยู่นั้น แต่เมื่อเติมสาร NaOH แล้วกลับกลายเป็นสีเหลือง แต่เมื่อเติมสาร HCl ก็ผันกลับเป็นสีส้มเหมือนเดิม
    สรุปคือ
    เมื่อเราเติมสารสลับกับอยู่อย่างนี้สารก็จะผันกลับมาเป็นสีส้มเหมือนเดิม หรือ ที่เรียกกันว่าการเกิดปฏิกริยาผันกลับนั้นเอง

  7. อำภาพรรณ ติ่งอ่วม พูดว่า:

    จกกคลิบที่2 เป็นการเปลียนแปลงประเภท การเปลียนแปลงที่ผันกลับได้

    เพราะเปลียนแปลงเเกดขึ้นแล้วสามารถเข้าสู้สภาพเดิมได้

  8. คริปที่ 1 เป็นสมการสามารถ แปรผันกลับได้ เพราะ สารตั้งต้นกับ สารผลิตภัณฑ์ นั้นเป็นสารชนิดเดียวกัน

  9. คริปที่2 เป็นสมการสามารถ แปรผันกลับได้ เพราะ เมื่อเราเตืมสาร NaoH ลงไปเราสั้งเกตได้ว่ามันเป็นสีเหลือง เเละเมื่อเราเติม Hcl ลงไปก็ เป็นสีแดง หรือส้ม และเมื่อเราเติม NaoH ลงไปเร้าก็สังเกตได้อีกว่า กลับมาเป็นสีเหลืองเช่นเคยนั้นแสดง ปฏิกิริยานี้ สามารถแปรผันกลับได้

  10. นาย ชลธี ยอดสุทธิ ม.5/4 เลขที่4 พูดว่า:

    คลิปที่2 เป็นปฎิกิริยาผันกลับได้ เพราะ เมือดูปฎิกิริยาจะเกิดขึ้นได้สิ้นสุดหรือไม่นั้น ให้ถือว่า ถ้าปฎิกิริยาเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องแล้ว ปฎิกิริยาจะเกิดสมบูรณ์ได้สารผลิตภัณฑ์ แต่ในบางปฎิกิริยา เมื่อเกิดสารผลิตภัณฑ์แล้ว สารผลิตภัณฑ์มีการเปลี่ยนแปลงกลับเป็นสารตั้งต้นได้ ปฎิกิริยาจะถูกเรียนว่า…..ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้

  11. นพพล แก่นจันทร์ พูดว่า:

    ตอบ คลิปที่ 2 เนื่องด้วย การที่เอา NaOH ใส่ลงไปในสารที่มี สีส้ม แล้วเปลี่ยนสี เปนสีเหลืองด้วยความเร็ว เปนเพราะ การเพิ่มอุณภูมิให้สูง จึง เปลี่ยนสีได้เร็ว หรือ เกิด ปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น นั้นคือ ปฏิกิริยาไปข้างหน้า แต่เมื่อ สีเข้าสู่ ภาวะสมดุล แล้วเติม HCl สีที่เปนสีส้ม กลับกลายมาเป็น สีเหลืองเหมือนเดิม นั้นคือ ปฏิกิริยาย้อนกลับนั้นเอง
    จึง สรุปได้ว่า ปฏิกิริยานี้ เป็น ปฏิกิริยาผันกลับได้

    นาย นพพล แก่นจันทร์ 5/2 เลขที่ 6

  12. นาย ณธพนธ์ นวนตา ม.5/4 เลขที่ 2 พูดว่า:

    จากคลิปที่ 2 จะสังเกตได้ว่าเมื่อนำเอา NaOH เทลงไปในภาชนะที่มีสารที่มีสีส้มนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงคือจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและเมื่อเติม HCl ก็จะกลับกลายมาเป็นสีส้มเช่นเดิมและจะเกิการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเป็นเพราะว่าสารที่อยู่ในภาชนะนั้นมีอุณหภูมิสูงจึงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นและเมื่อเติม NaOH และ HCl สลับกันไปมาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนเดิมกับการเติมในครั้งแรกนี่เป็นเพราะว่าสารทั้งสองนั้นควบคุมการเปลี่ยนแปลงซึ่งกันและกันเมื่อเติมสารหนึ่งก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามสารนั้นและจะกลับมาสู่สภาพเดิมโดยสรุปได้คือสารทั้งสองสารนี้ทำปฏิกิริยากันโดยการย้อนกลับไปกลับมาและเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาผันกลับได้

  13. นาย ณัฐฏ์ชฎา ลำพูน เลขที่3 ม.5/2 พูดว่า:

    คลิปที่ 2 เป็นการเปลื่ยนเเปลง การเปลื่ยนเเปลงที่ผันกลับได้ เพราะเป็นการเปลื่นเเปลงที่เกิดขึ้นเเล้วจะสามารถเข้าสู่สภาพเดิมได้หรือการเปลื่ยนเเปลงซึ่งมีทั้งการเปลื่ยนเเปลงไปข้างหน้าเเละการเปลื่ยนเเปลงย้อนกลับเกิดควบคู่กันไป

  14. นาย ณัฐฏ์ชฎา ลำพูน เลขที่3 ม.5/2 พูดว่า:

    คลิปที่ 2 เป็นการเปลื่ยนแปลงประเภท ผันกลับได้ เพราะเป็นการเปลื่นเเปลงที่เกิดขึ้นเเล้วจะสามารถเข้าสู่สภาพเดิมได้หรือการเปลื่ยนเเปลงซึ่งมีทั้งการเปลื่ยนเเปลงไปข้างหน้าเเละการเปลื่ยนเเปลงย้อนกลับเกิดควบคู่กันไป และกลับอยู่ในสภาพเดิม

  15. ก้องภพ อุ่นลุม พูดว่า:

    จากคลิปที่1
    สมดุลเคมีเกิดขึ้นได้อย่างไร สามารถอธิบายได้ดังนี้
    สมดุลเคมีเกิดขึ้นได้จาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า เท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ แล้วในขณะนั้นระบบมีสมบัติคงที่ เรียกว่า เกิดภาวะสมดุล การเปลี่ยนแปลงที่เข้าสู่ภาวะสมดุล โดยระบบมิได้หยุดนิ่ง แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เหมือนที่อยู่ในคลิป vdo ซึ่งเป็นสมดุลที่โมเลกุลของสารในระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในระบบปิด ระบบจะดำเนินเข้าสู้ภาวะสมดุลได้เอง โดยอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับดังสมการเคมี CaCO3 CaO + CO2 การดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของระบบอาจเริ่มจากทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับและความเข้มข้นของสาร ตั้งต้นและผลิตภัณฑ์จะคงที่ นั่นคือปฏิกิริยาอยู่ในสภาวะสมดุล

  16. ก้องภพ อุ่นลุม ม.5/2เลขที่1 พูดว่า:

    ลืม พิมพ์ เลขที่ และ ห้อง ครับ…

  17. นาย ทัศน์พล แสงกระจ่าง ม.5/4 เลขที่ 3 พูดว่า:

    นาย ทัศน์พล แสงกระจ่าง ไม่เอา ข้อ 1 นะคราฟฟ

  18. นาย ศุภวิชญ์ ผาทอง พูดว่า:

    คลิปที่ 1 สมดุลเคมี เกิดได้เพราะเมื่อสารตั้งต้น CaCo3 เกิดการสลายตัว ทำให้ CaCo3 แตกตัวกลายเป็นผลิตภันฑ์ คือ CaO + Co2 เกิดขึ้น ปฏิกิริยานี้สามารถ ย้อนกลับได้

  19. นาย ยฎฑรัตน์ ชัยยะ ม.5/5 เลขที่1 พูดว่า:

    จากคริปที่ 2 เมือเทสาร NaOH ลงไปแล้วทำให้สารเดิมที่เป็นสีส้มเปลียนเป็นสีเหลือง แต่เมือเทสาร HCl ทำให้สารที่เป็นสีเหลืองก็กลับเปลียนมาเป็นสีส้มเหมือนเดิม สรุปได้ว่า เมือสารที่เป็นสีส้มเปลียนเป็นสีเหลือง นั้นคือปฏิกิริยาไปข้างหน้า แต่เมือสารเข้าสู่สภาวะสมดุล แล้วเมือสารที่เป็นสีเหลืองเปลียนกลับมาเป็นสีส้มอีกครั้ง เรียกปฏิกิริยานี้ว่าปฏิกิริยาผันกลับได้

  20. นาย อุเบกข์ มูลเมือง ม.5/5 เลขที่2 พูดว่า:

    จากคลิปที่1 เมือสารตั้งต้นเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารผลิตภันฑ์แล้วเปลี่ยนกับเป็นสารเดิมปฏิกิริยานี้คือปฏิกิริยาผันกับได้

  21. praramate พูดว่า:

    จากการสังเกตของคลิปที่ 2
    มันเป็นการเปลี่ยนแปลงปฎิกิริยาการเปลี่ยนแปลงผันกลับได้ในเมื่อเราใส่สารตั้งต้นแล้วนำสารNaOHใส่ลงไปในปีกเกอร์สารในปีกเกอร์จะทำการเปลี่ยนแปลงปฎิกิริยาเปลี่ยนเป็นสีใหม่แล้วนำสารที่ 2 HCl ก็กลับมาเป็นสีเหมือนสารตั้งต้น สรุปได้ว่า สารNaOH ทำปฎิกิริยาไปข้างหน้า ..แต่พอใสสารที่ 2 ลงไป ก็จะเข้าสู่สภาวะสมดุล กลับกายเป็นสารตั้งต้นเหมือนเดิม

    ปรเมษฐ์ อินทร์ติยะ เลขที่ 5 m5/4

  22. ครูแมน พูดว่า:

    ปิดรับความคิดเห็นแล้วครับ

  23. นิรนาม พูดว่า:

    จากคลิปที่ 2 เห็นความร้อน ช่วยให้ปฎิกิริยา เกิดเร็วขึ้นอีกด้วย

ส่งความเห็นที่ นาย ณัฐฏ์ชฎา ลำพูน เลขที่3 ม.5/2 ยกเลิกการตอบ